ประเพณีวันลอยกระทง


กำหนดวันลอยกระทง

          วันลอยกระทงของทุกปีจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย หรือถ้าเป็นปฏิทินจันทรคติล้านนาจะตรงกับเดือนยี่ และหากเป็นปฏิทินสุริยคติจะราวเดือนพฤศจิกายน ซึ่งเดือน 12 นี้เป็นช่วงต้นฤดูหนาว อากาศจึงเย็นสบาย และอยู่ในช่วงฤดูน้ำหลาก มีน้ำขึ้นเต็มฝั่ง ทำให้เห็นสายน้ำอย่างชัดเจน อีกทั้งวันขึ้น 15 ค่ำ เป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวง ทำให้สามารถเห็นแม่น้ำที่มีแสงจันทร์ส่องกระทบลงมา เป็นภาพที่ดูงดงามเหมาะแก่การชมเป็นอย่างยิ่ง

ประวัติความเป็นมาของวันลอยกระทง

          ประเพณีลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณีนี้ได้สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง เรียกประเพณีลอยกระทงนี้ว่า "พิธีจองเปรียญ" หรือ "การลอยพระประทีป" และมีหลักฐานจากศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่นไฟว่าเป็นงานรื่นเริงที่ใหญ่ที่สุดของกรุงสุโขทัย ทำให้เชื่อกันว่างานดังกล่าวน่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่างแน่นอน      

          ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธีลอยกระทงเป็นพิธีของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้นำพระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และลอยโคมเพื่อบูชารอยพระบาทของพระพุทธเจ้า 
          ก่อนที่นางนพมาศ หรือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่วงจะคิดค้นประดิษฐ์กระทงดอกบัวขึ้นเป็นคนแรกแทนการลอยโคม ดังปรากฏในหนังสือนางนพมาศที่ว่า 




          "ครั้นวันเพ็ญเดือน 12 ข้าน้อยได้กระทำโคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนมกำนัลทั้งปวงจึงเลือกผกาเกษรสีต่าง ๆ มาประดับเป็นรูปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซ้อนสีสลับให้เป็นลวดลาย..."

          เมื่อสมเด็จพระร่วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรงพอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็นเยี่ยงอย่าง และให้จัดประเพณีลอยกระทงขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยให้ใช้กระทงดอกบัวแทนโคมลอย ดังพระราชดำรัสที่ว่า "ตั้งแต่นี้สืบไปเบื้องหน้า โดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศถึงกาลกำหนดนักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน" พิธีลอยกระทงจึงเปลี่ยนรูปแบบตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

          ประเพณีลอยกระทงสืบต่อกันเรื่อยมา จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น สมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 3 พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางนิยมประดิษฐ์กระทงใหญ่เพื่อประกวดประชันกัน ซึ่งต้องใช้แรงคนและเงินจำนวนมาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงเห็นว่าเป็นการสิ้นเปลือง จึงโปรดให้ยกเลิกการประดิษฐ์กระทงใหญ่แข่งขัน และโปรดให้พระบรมวงศานุวงศ์ทำเรือลอยประทีปถวายองค์ละลำแทนกระทงใหญ่ และเรียกชื่อว่า "เรือลอยประทีป" ต่อมาในรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ได้ทรงฟื้นฟูพระราชพิธีนี้ขึ้นมาอีกครั้ง ปัจจุบันการลอยพระประทีปของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงกระทำเป็นการส่วนพระองค์ตามพระราชอัธยาศัย 


เหตุผลและความเชื่อของการลอยกระทง 
          สาเหตุที่มีประเพณีลอยกระทงขึ้นนั้น เกิดจากความเชื่อหลาย ๆ ประการของแต่ละท้องที่ ได้แก่ 

          1.เพื่อแสดงความสำนึกถึงบุญคุณของแม่น้ำที่ให้เราได้อาศัยน้ำกิน น้ำใช้ ตลอดจนเป็นการขอขมาต่อพระแม่คงคา ที่ได้ทิ้งสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ลงไปในน้ำ อันเป็นสาเหตุให้แหล่งน้ำไม่สะอาด

          2.เพื่อเป็นการสักการะรอยพระพุทธบาทนัมมทานที เมื่อคราวที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดงธรรมโปรดในนาคพิภพ และได้ทรงประทับรอยพระบาทไว้บนหาดทรายแม่น้ำนัมมทานที ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหนึ่งอยู่ในแคว้นทักขิณาบถของประเทศอินเดีย ปัจจุบันเรียกว่าแม่น้ำเนรพุทท


          3.เพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์ เพราะการลอยกระทงเปรียบเหมือนการลอยความทุกข์ ความโศกเศร้า โรคภัยไข้เจ็บ และสิ่งไม่ดีต่าง ๆ ให้ลอยตามแม่น้ำไปกับกระทง คล้ายกับพิธีลอยบาปของพราหมณ์

          4.เพื่อเป็นการบูชาพระอุปคุต ที่ชาวไทยภาคเหนือให้ความเคารพ ซึ่งบำเพ็ญเพียรบริกรรมคาถาอยู่ในท้องทะเลลึกหรือสะดือทะเล โดยมีตำนานเล่าว่าพระอุปคุตเป็นพระมหาเถระรูปหนึ่งที่มีอิทธิฤทธิ์มาก สามารถปราบพญามารได้ 

          5.เพื่อรักษาขนบธรรมเนียมของไทยไว้มิให้สูญหายไปตามกาลเวลา และยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ

          6.เพื่อความบันเทิงเริงใจ เนื่องจากการลอยกระทงเป็นการนัดพบปะสังสรรค์กันในหมู่ผู้ไปร่วมงาน

          7.เพื่อส่งเสริมงานฝีมือและความคิดสร้างสรรค์ เพราะเมื่อมีเทศกาลลอยกระทง มักจะมีการประกวดกระทงแข่งกัน ทำให้ผู้เข้าร่วมได้เกิดความคิดแปลกใหม่ และยังรักษาภูมิปัญญาพื้นบ้านไว้อีกด้วย



บทที่ 5

E-Commerce





ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Business) 

                         คือ กระบวนการดําเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายที่เรียกว่าองค์การเครือข่ายร่วม (Internetworked Network) ไม่ว่าจะเป็นการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) การติดต่อสื่อสารและการทํางานร่วมกัน หรือแม้แต่ระบบธุรกิจภายในองค์กร
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์ และบริการโดยใชสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (WTO,1998)

E-Business และ E-Commerce เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?



กรอบการทํางาน (E-Commerce Framework)


                      องค์ประกอบหลักสําคัญ ด้านเทคโนโลยีพื้นฐาน ที่จะนํามาใช้เพื่อการพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่
                           1. ระบบเครือข่าย (Network)
                           2. ช่องทางการติดต่อสื่อสาร (Chanel Of Communication)
                           3. การจัดรูปแบบและการเผยแพร่เนื้อหา (Format & Content Publishing)
                           4. การรักษาความปลอดภัย (Security)

การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)
  • การพัฒนาระบบงาน E-Commerce Application Development
  • การวางแผนกลยุทธ์ E-Commerce Strategy
  • กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce Law
  • การจดทะเบียนโดเมนเนม Domain Name Registration
  • การโปรโมทเว็บไซต์ Website Promotion
ประเภทของ E-Commerce
                         กลุ่มธุรกิจที่ค้ากําไร (Profits Organization)
  • Business-to-Business (B2B)
  • Business-to-Customer (B2C)
  • Business-to-Business-to-Customer (B2B2C)
  • Customer-to-Customer (C2C)
  • Customer-to-Business (C2B)
  • Mobile Commerce
                        กลุ่มธุรกิจที่ไม่ค้ากําไร (Non-Profit Organization)
  • Intrabusiness (Organization) E-Commerce
  • Business-to-Employee (B2E)
  • Government-to-Citizen (G2C)
  • Collaborative Commerce (C-Commerce)
  • Exchange-to-Exchange (E2E)
  • E-Learning
การประยุกต์ใช้ (E-commerce Application)
                 - การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
                 - การโฆษณาอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)
                - การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auctions)
                - การบริการอิเล็กทรอนิกส์(E-Service)
                - รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government)
                - การพาณิชย์ผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (M-Commerce : Mobile Commerce)

แบบจําลองทางธุรกิจ E-Commerce Business Model                     หมายถึง วิธีการดําเนินการทางธุรกิจที่ช่วยสร้างรายได้ อันจะทําให้บริษัทอยู่ต่อไปได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงกิจกรรมที่ช่วยสร้างมูลค้าเพิ่ม (Value Add) ให้กับสินค้าและบริการ
วิธีการที่องค์กรคิดค้นขึ้นมาเพื่อประยุกต์ใช้ทรัพยากรขององค์กรอย่างเต็มที่ อันจะก่อให้เกิดผลกําไรสูงสุดและเพิ่มมูลค้าของสินค้าและบริการ


ข้อดีและข้อเสียของ E-Commerce
            ข้อดี
                   1.สามารถเปิดดําเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
                   2.สามารถดําเนินการค้าขายได้อย่างอิสระทั่วโลก
                   3.ใช้ต้นทุนในการลงทุนต่ํา
                   4.ไม่ต้องเสียค่าเดินทางในระหว่างการดําเนินการ
                   5.ง่ายต่อการประชาสัมพันธ์ และยังสามารถประชาสัมพันธ์ในครั้งเดียวแต่ไปได้ทั่วโลก
                   6.สามารถเข้าถึงลูกค้าที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ตได้ง่าย
                   7.ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาสําหรับผู้ซื้อและผู้ขาย
                   8.ไม่จําเป็นต้องเปิดเป็นร้านขายสินค้าจริงๆ
         ข้อเสีย
                  1.ต้องมีระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบที่มีประสิทธิภาพ
                  2.ไม่สามารถเข้าถึงลูกค้าที่ไม่ได้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตได้
                  3.ขาดความเชื่อมั่นในเรื่องการชําระเงินผ่านทางบัตรเครดิต
                  4.ขาดกฎหมายรองรับในเรื่องการดําเนินการธุรกิจขายสินค้าแบบออนไลน์
                  5.การดําเนินการทางด้านภาษียังไม่ชัดเจน




บทที่ 4

 E-business strategy







Business Strategy

                       คือ กลยุทธ์ที่จะเชื่อมให้ แบบจำลองทางธุรกิจ เป็นจริงได้ ทำยังไงให้ การสร้าง มูลค่า นั้นเป็นจริงได้ แล้วทำยังไงที่จะส่ง มูลค่า นั้นให้กับลูกค้าได้ดีที่สุด และทำยังไงให้มันแตกต่าง การทำธุรกิจด้านอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ใช่เพียงแค่การสร้างธุรกิจออนไลน์ แต่เป็นการสร้างธุรกิจที่มีความแตกต่างอย่างไรก็ตามในเรื่องนี้จะพูดถึงตัวแบบขั้นตอนกลยุทธ์หลักในการทำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ทั้ง 4 ขั้นตอนดังนี้
                      - Strategic evaluation : กลยุทธ์การประเมิน
                      - Strategic objectives : กลยุทธ์การวางแผนวัตถุประสงค์
                      - Strategy definition : กลยุทธ์การกำหนดนิยาม
                      - Strategy implementation : กลยุทธ์การดำเนินงาน



กลยุทธ์ของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business Strategies)

                    กลยุทธ์ เป็นตัวกำหนดทิศทางและการดำเนินงาน ด้านต่างๆ ขององค์กร กลยุทธ์เป็นเสมือนกับเหตุผลและความมุ่งหมายขององค์กร ไม่เพียงแต่กลยุทธ์เท่านั้นที่สำคัญ แต่การวางแผนและการลงมือจำเป็นไม่แพ้กัน สรุปปัจจัยสำคัญของกลยุทธ์ที่สามารถนำมาใช้ได้ซึ่งก็คือ
                     1. ขึ้นอยู่กับสิ่งที่เป็นอยู่ในตลาดขณะนี้หรือไม่
                     2. กำหนดนิยามว่าจะไปถึงวัตถุประสงค์ที่วางไว้อย่างไร
                     3. กำหนดการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
                     4. เลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสมเพอื่ ที่จะได้เปรียบคู่ค้าในตลาด
                     5. จัดหาแผนงานระยะยาวเพื่อพัฒนาองค์กร


                   กลยุทธ์ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ จะสำเร็จได้เมื่อมีการสร้างคุณค่าที่ต่างกันสำหรับทุกฝ่ายเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์จะไม่เกิดขึ้นแบบเดี่ยวๆดังนั้นจะต้องมีการนำ หลายๆ ช่องทางมาใช้ร่วมกัน ซึ่งการเลือกช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมนั้นบางทีอาจเรียกว่า การใช้ช่องทางการค้าที่ถูกต้องสามารถสรุปได้ดังนี้
                    1. เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ถูกต้อง
                    2. ใช้ช่องทางที่ถูกต้อง
                    3. ใช้ข้อความที่จะสื่ออย่างถูกต้อง
                    4. ใช้ในเวลาที่ถูกต้อง

กลยุทธ์ของธุรกิจเล็กทรอนิกส์ ต้องกำหนดวิธีที่องค์กรจะได้รับคุณค่าจากการใช้เครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์

Different forms of organizational strategy


Relationship between e-business strategy and other strategies



E-channel strategies

                      E-Channel ย่อมาจาก electronic channels คือ การสร้างช่องทางใหม่ๆ ในการกระจายสินค้า ทั้งจากลูกค้า และคู่ค้า โดยที่ช่องทางทางอิเล็กทรอนิกส์ สามารถกำหนดวิธีการที่ใช้ทำงานร่วมกับช่อง ทางอื่นๆจากหลายช่องทางของกลยุทธ์ E-Business

multi-channel e-business strategy

                      กลยุทธ์หลายช่องทาง e - business เป็นการกำหนดวิธีการทางการตลาดที่แตกต่าง และ ช่องทางของห่วงโซ่อุปทาน ดังนั้นจึงควรมีการบูรณาการ และ ทุกๆกลยุทธ์ควรจะสนับสนุนซึ่งกัน

ตัวอย่าง Multi-channel ของกลยุทธ์การเช็คอินของ AIR ASIA 








Strategy Formulation

                    การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกเพื่อหาโอกาสและภัยคุกคาม โดยพิจารณา ในแง่ต่างๆเช่น การเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี การต่างประเทศ ตลาด ลูกค้า คู่แข่ง ผู้สนับสนุนวัตถุดิบ และตลาดแรงงาน ฯลฯ
การวิเคราะห์สถานการณ์ภายในเพื่อหาจุดแข็งและจุดอ่อน เช่น ความสามารถ ด้านการตลาด การผลิต การเงิน สารสนเทศ กฎระเบียบ การจัดการ และ ทรัพยากรบุคคล ฯลฯ
                  -การกำหนดหรือทบทวนวิสัยทัศน์และภารกิจขององค์การเพื่อกำหนดให้แน่ชัดว่า
                 -องค์การของเราจะมีลักษณะเช่นใด
                 -มีหน้าที่บริการอะไร แก่ใครบ้าง
                 -โดยมีปรัชญา หรือค่านิยมหลักในการดำเนินการเช่นใด
                 -การกำหนดวัตถุประสงค์ขององค์การในระยะของแผนกลยุทธ์
                 -การวิเคราะห์และเลือกกำหนดกลยุทธ์และแนวทางพัฒนาองค์การ


Strategic Implementation

                      -การกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน
                      -การวางแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ที่ระบุกิจกรรมต่างๆ ที่จะต้องดำเนินการ
           -การปรับปรุง พัฒนาองค์การ เช่น ในด้านโครงสร้างระบบงาน ทรัพยากรบุคคล วัฒนธรรม องค์การและ ปัจจัยการบริการต่างๆ ในองค์การ


Strategic Control and Evaluation

                   -การติดตามตรวจสอบผลการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์
                -การติดตามสถานการณ์และเง่อื นไขต่างๆ ทีอาจเปลี่ยนแปลงไปซึ่งอาจทำให้ต้องมีการปรับแผนกลยุทธ์










บทที่ 3

 E- ENVIRONMENT






สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ จึงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ ด้วย


1.สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจ Internal Environment

คือ สภาวะแวดล้อมที่ธุรกิจสามารถควบคุมได้ หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่ธุรกิจสามารถกำหนด และควบคุมได้เป็นไปตามความต้องการของธุรกิจถือว่าเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโปรแกรมการตลาด โดยกาวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของธุรกิจ ในการนำไปเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน


2.สภาพแวดล้อมภายในธุรกิจ External Environment


ภาวะแวดล้อมที่ธุรกิจไม่สามารถควบคุมได้ ปัจจัยกลุ่มนี้ หมายถึงปัจจัยยังคับภายนอกธุรกิจที่มีอิทธิพลต่อระบบการตลาด ถือ ว่าเป็นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้แต่มีอิทธิพลต่อระบบการตลาดคือสร้างโอกาสหรืออุปสรรคแก่ธุรกิจ ซึ่งประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมจุลภาค และสิ่งแวดล้อมมหภาค



การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการบริหารธุรกิจ


รูปการวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน



S (Strengths) จุดแข็ง เป็นปัจจัยภายในที่ส ามารถควบคุมได้ตามศักยภาพของธุรกิจที่มีอยู่ จุดแข็งนี้จะก่อให้เกิดผลดีต่อ


ธุรกิจ ซึ่งส่งผลมาจากการบริหารงานภายในระหว่างผู้บริหารและบุคลากร หรืออาจมาจากความได้เปรียบในด้านทรัพยากรทางการบริหารต่างๆ เช่น มีสถานภาพทางการเงินที่มั่นคง ที่ตั้งอยู่ใกล้ทั้งแหล่งวัตถุดิบและแหล่งจัดจำ หน่าย บุคลากรมีประสบการณ์และความสามารถสูง ฯลฯ


W (Weaknesses) จุดอ่อน เป็นปัจจัยภายในที่เกิดจากปัญหาภายในธุรกิจ อันเนื่องมาจากการบริหารงานที่ผิดพลาด ข้อจำกัดบางประการของศักยภาพทางธุรกิจ ปัญหาเหล่านี้จะส่งผลร้ายถ้าไม่รีบดำเนินการแก้ไข เช่น ขาดสภาพคล่อง


ทางการเงิน สินค้าที่ผลิตออกมามีคุณภาพ ไม่คงที่ ขาดการประสานงานที่ดีภายในองค์กร ฯลฯ


O (Opportunities) โอกาส เป็นปัจจัยภายนอกที่ธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิดหรือไม่เกิดขึ้นได้ แต่เป็นสภาวการณ์แวดล้อมอันส่งผลดีให้กับธุรกิจโดยบังเอิญ เช่น กลุ่มลูกค้าเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น นโยบายของรัฐให้การสนับสนุนธุรกิจประเภทนี้ สินค้าของคู่แข่งมีคุณภาพต่ำฯลฯ


T (Threats) อุปสรรค เป็นปัจจัยภาย นอกที่ธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิดหรือ ไม่เกิดขึ้นได้ และเป็นสภาวการณ์แวดล้อมอันเลวร้ายที่ส่งผลกระทบให้ธุรกิจเสียหาย เช่น รัฐบาลขึ้นภาษี ปัญหาสภาพเศรษฐกิจตกต่ำ วัตถุดิบมีราคาสูงขึ้นเกิดภัยสงครามหรือภัยธรรมชาติ ฯลฯ




การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ด้วย TOWS Matrix


กลยุทธ์เชิงรุก (SOStrategy) เป็นการใช้จุดแข็งบนโอกาสที่มี ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงรุก


กลยุทธ์เชิงป้องกัน (STStrategy) เป็นการใช้จุดแข็งป้องกันอุปสรรค ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็น จุดแข็งและข้อจำกัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงป้องกัน


กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WOStrategy) เป็นการขจัดจุดอ่อนโดยใช้โอกาส ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงแก้ไข


กลยุทธ์เชิงรับ (WTStrategy) เป็นการขจัดจุดอ่อนป้องกันอุปสรรค ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและข้อจำกัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงรับ

บทที่ 2 : parts 2

บล็อก (blog) เป็นคำรวมมาจากคำว่า เว็บล็อก (weblog) เป็นรูปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลำดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อต่างๆ ไม่ว่า เพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน ซึ่งทำให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คำว่า "บล็อก" ยังใช้เป็นคำกริยาได้ซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผู้ที่เขียนบล็อกเป็นอาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์"

บล็อกเป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยู่กับเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องส่วนตัวหรือจะเรียกว่าไดอารีออนไลน์ ซึ่งไดอารีออนไลน์นี่เองเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้บล็อกในปัจจุบัน นอกจากนี้ตามบริษัทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทำบล็อกของทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ใหักับลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
 

จุดเด่นของ Blog

                1. เป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อถึงความเป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านที่เป็นกล่มุเป้าหมายได้ชัดเจน

                2. มีความสะดวกและง่ายในการเขียน Blog ทำให้สามารถเผยแพร่ความคิดเห็นของผู้เขียน blog ได้ง่ายขึ้น

                3. Comment จากผู้ที่สนใจเรื่องเดียวกันบางครั้งทำให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ
 



ข้อแตกต่างของ Blog กับเว็บประเภทอื่น

                 1. การใส่ข้อมูลใหม่ทำได้ง่าย

                 2. มี template อัตโนมัติช่วยจัดการ

                 3. มีการกรองเนื้อหาแยกตามวัน ประเภทผู้แต่งหรืออื่นๆ

                 4. ผู้ดูแลจัดการ blog สามารถเชิญ หรือ เพิ่มผู้แต่งคนอื่นโดยจัดการเรื่องการอนุญาตและการเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย

                 5. เจ้าของ blog จะเป็นผู้สร้างหัวข้อสนทนาเท่านั้น

Blog และวิถีของผู้คน

               - Blogger หลายคนสนับสนุนแนวคิดเรื่อง open source

               - Blog ส่งผลกระทบต่อสงั คมได้ เช่นบาง Blog นั้นลูกจ้างอาจจะก่อรำคาญใจต่อนายจ้างและทำให้บางคนถูกไล่ออก

              - คนใช้ Blog ในทางอื่นๆ เช่นส่งข้อความสู่สาธารณะ อาจจะมีปัญหาตามมาได้ คือการไม่เคารพทรัพย์สินทางปัญญา หรือการให้ข่าวที่ไม่น่าเชื่อถือได้

              - บางครั้งการสร้างข่าวลือก็เอื้อประโยชน์ต่อสื่อสารมวลชนที่สนใจเรื่องนั้น ๆ ได้

              - Blog เป็นการรวบรวมความคิดของมนุษย์ สามารถนำมาใช้ช่วยกับปัญหาด้านจิตวิทยา , อาชญากรรม , ชนกลุ่ม น้อย ฯลฯ

              - Blog เป็นช่องทางเผยแพร่งานพิมพ์อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ

 

ตัวอย่าง การโพสข้อความใน BLBlog

 

ตัวอย่างของ Blog

 
Internet Forum

            - ทำหน้าที่คล้าย bulletin board และ newsgroup
            - มีการรวบรวมข้อมูลทั่ว ๆไป เช่น เทคโนโลยี, เกม,คอมพิวเตอร์, การเมือง ฯลฯ
            - ผู้ใช้สามารถโพสหัวข้อลงไปในกระดานได้
            - ผู้ใช้คนอื่นๆ ก็สามารถเลือกดูหัวข้อหรือแม้กระทั้งโพสความคิดเห็นของตนเองลงไปได้

Wiki            - Wiki อ่านออกเสียง "wicky", "weekee" หรือ "veekee"

            - สามารถสร้างและแก้ไขหน้าเว็บเพจขึ้นมาใหม่ผ่านทางบราวเซอร์ โดยไม่ต้อง
สร้างเอกสาร html เหมือนแต่ก่อน

            - Wiki เน้นการทำระบบสารานุกรม, HOWTOs ที่รวมองค์ความรู้หลายๆ แขนงเข้าไว้ด้วยกันโดยเฉพาะ
มีเครื่องมือที่ใช้ทำ Wiki หลายอย่าง เช่น Wikipedia เป็นต้น

            - Wikipedia เป็นระบบสารานุกรม (Encyclopedia) สาธารณะที่ทุกคนสามารถใส่ข้อมูลลงไปได้
รองรับภาษามากกว่า 70 ภาษารวมทั้งภาษาไทย
           - มีการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์วิกิที่สำคัญยิ่งในการสร้างสารานุกรม ที่เปิดโอกาสให้ใครก็ได้มาร่วมกันสร้างสารานุกรมที่ http://www.wikipedia.org

          - วิกิพีเดียในภาคภาษาไทยที่ http://th.wikipedia.org

          - ในปัจจุบันวิกิพีเดียถือว่าเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญ

          - ซอฟต์แวร์เพื่อสังคมที่ดี พึงคงคุณลักษณะของการเปิดพื้นที่ให้กับปัจเจกบุคคลใน
การสื่อต่อสาธารณะโดยมีการควบคุมน้อยที่สุด

         - เพื่อให้การประมวลสังคม เป็นไปอย่างอิสระปราศจากการครอบงำจากเจ้าของ
เทคโนโลยีให้มากที่สุด

         - ดังนั้นการสร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อสังคมใดๆ พึงตระหนักถึงหลักการ
เคารพในสิทธิของปัจเจก (individual) ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้


ตัวอย่างเว็บไซต์ Wiki





Instant Messaging
- เป็นการอนุญาตให้มีการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลบนเครือข่ายที่เป็นแบบ relative privacy

- ตัวอย่างเช่น Gtalk , Skype , Meetro , ICQ ,Yahoo Messenger , MSN Messenger และ
AOL Instant Messenger เป็นต้น


ตัวอย่างโปรแกรม Instant Messaging


 
 

Tag
- วิธีการใช้ tag นี้มีความสะดวกตรงที่ไม่ต้องจำลำดับชั้นการจัดระเบียบเช่นเดิม การค้นเจอเว็บก็ได้จาก tag หลาย ๆ ตัวได้ ไม่จำกัดอยู่แต่ข้อมูลในFolder เดียวกัน Joshua นำให้ทุก ๆ คนสามารถตรวจดูเว็บที่มี
การตั้งชื่อ tag โดยผู้อื่นได้


กลุ่ม Tag ก่อตัวกันมองคล้ายกลุ่มเมฆ (Tag Cloud)


- เมื่อมีการใส่ tag เป็นจำนวนมากแล้ว ระบบของ ปัจเจกวิธาน สามารถแสดงภาพรวมออกมาได้ว่า
ทุก ๆ คนใช้ tag ใดมากน้อยเพียงใด (ดังรูป) Tag ใดที่มีคนใช้มาก ก็จะตัวใหญ่ tag ใดใช้น้อยก็จะตัวเล็ก

- การแสดงภาพรวมนี้สามารถทำได้ทั้งของทุก ๆ คนรวมกัน หรือ เฉพาะบุคคลไป
(ซึ่งจะชี้ให้เห็นได้ว่าบุคคลนั้นสนใจเรื่องใดบ้าง)


ตัวอย่าง Tag Cloud






ตัวอย่างการค้นหาเว็บที่เกี่ยวกับ Wallpaper ใน del.icio.us





เนื้อหาข้อมูลข้ามสายกัน (Cross-Navigation)

การใช้แกนในการค้นหาถึงสามอย่างได้ช่วยให้พบข้อมูลใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น แกนดังกล่าวได้แก่

• User: เว็บทั้งหมดที่ผู้ใช้ผู้นี้ใส่ tag ให้และเรียกดู tag cloud ของผู้ใช้ผู้นี้ได้ด้วย
• Tag: เว็บทั้งหมดที่มีการใส่ tag และเรียกดู tag ที่เกี่ยวข้องได้ด้วย
• URL: เว็บเว็บนี้มีใครใส่ tag บ้าง และใส่ว่าอะไรบ้าง
การค้น อาจจะเริ่มจากที่ User แล้วไปที่แกน tag และทำให้พบ tag ที่เกี่ยวข้องได้อีก โดยไม่ได้ตั้งใจไว้ก่อนแต่แรก

การใช้ tag สามารถพบได้ในการนำไปกับเนื􀀛อหาอื่น ๆ

- Flickr.com เก็บ และ ใส่ tag ให้กับรูปภาพ
- CiteULike.org เก็บและใส่ tag ให้เอกสารงานวิจัย (academic paper)
- 43Things.com บันทึกสิ่งที่อยากทำในชีวิตพร้อมกับใส่ tag ให้กิจกรรมนั้น
- Tagzania.com บันทึกสถานที่ และใส่ tag ให้กับสถานที่หรือแผนที่


ตัวอย่าง tag/cat รวมภาพที่เกี่ยวกับแมวบน Flickr.com







อนาคตของ ปัจเจกวิธาน (Folksonomy)

- ระบบการใช้ tag จะมีการนำไปประยุกต์ใช้กับ Blog และ Wiki
เพื่อความสะดวกให้การค้นหาความรู้ต่าง ๆ ที่บรรจุไว้ในซอฟต์แวร์ทั้งสอง

- ในระยะยาวอาจจะมีการแข่งขันของโปรแกรมลักษณะนี้อีกก็เป็นไปได้ โดยที่
อาจจะมีคุณลักษณะเพิ่มเติมที่ง่ายต่อการใช้งาน และมีความสามารถใหม่ ๆ

Networking standards

ในส่วนนี้จะกล่าวถึง Internet Standard เป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับทุกๆ protocol & procedure
และระเบียบแบบแผนต่างๆ ที่ใช้ในระบบอินเตอร์เน็ต ไม่จำเป็นว่ามันจะเป็นส่วนหนึ่งของ TCP/IP protocol หรือไม่ ในกรณีของหลายๆ protocol จะถูกพัฒนาและทำให้เป็นมาตราฐานด้วยองค์กรที่

ไม่ใช่เป็นองค์กรของอินเตอร์เน็ต (non-Internet organizations)

TCP/IP

- ข้อตกลงในการควบคุมการรับส่งข้อมูล และ internet หรือ protocol ของระบบ internet Transmission Control Protocol/Internet Protocol

- โปรโตคอล TCP/IP เป็นชื่อเรียกของชุดโปรโตคอลที่สำคัญ มีการใช้งานกันอย่างแพร่หลาย
ตามการขยายตัวของอินเตอร์เน็ต/อินทราเน็ต

- โปรโตคอลที่มีบทบาทสำคัญในการทำงานในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต คือ Internet Protocol
เนื่องจาก เมื่อโปรโตคอลอื่น ๆต้องการส่งผ่านข้อมูลข้ามเครือข่ายในอินเตอร์เน็ตนั้น
จะต้องอาศัยการผนึกข้อมูล (encapsulation) ไปกับโปรโตคอล IP ที่มีกลไกการระบุ
เส้นทาง(route service) ผ่าน Gateway หรือ Router



 

บทที่ 2 : parts 1

E-business infrastructure

          Main Topic
                                  ·      Internet technology
                         ·      Web technology
                         ·      Internet-access software applications
                         ·      How does it work? Internet standards
                         ·      Managing e-business infrastructure
        
       การกำหนดคำนิยาม(Definition)
                               ·      การกำหนดคำนิยามของคำว่า technology infrastructure
นั้น ต้องคำนึงถึง โครงสร้างพื้น ฐานของเทคโนโลยีที่มีผลต่อคุณภาพการบริการแก่ผู้ใช้งานของระบบทั้งในแง่ของ ความเร็ว(Speed) และ การตอบสนองต่อการร้องขอระบบ (responsiveness)
·      การให้บริการ e - business ให้ผ่านมาตรฐานของโครงสร้างพื้น ฐาน
เทคโนโลยีนั้นต้องกำหนดความสามารถขององค์กรในการแข่งขันทางธุรกิจผ่านการความแตกต่างให้กับตัวเองในตลาด
·      McAfee และ Brynjolfsson (2008)ได้กล่าวว่า เทคโนโลยี
ดิจิตอล เพื่อสนับสนุนการแข่งขันทางธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร หรือ CEO ควรจะ
·      Deploy, innovate, and propagate’: First, deploy a
consistent technology platform. Then separate yourself from the pack by coming up with better ways of working. Finally, use the platform to propagate these business
innovations widely and reliably. In this regard, deploying IT serves two distinct roles – as a catalyst for innovative ideas and as an engine for delivering them.

ความหมาย E-business infrastructure
                     หมายถึงการรวมกันของฮาร์ดแวร์เช่น Server, Client PC ในองค์กรรวมถึงการใช้เครือข่ายในการเชื่อมโยงฮาร์ดแวร์เหล่านี้และการใช้งานซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการส่งมอบบริการให้กับผู้ใช้งานที่อยู่ในบริษัทและยังรวมถึงคู่ค้าและลูกค้าของตน ซึ่งคำว่า Infrastructure ยังรวมไปถึงสถาปัตยกรรมทางด้านHardware , Software และ เครือข่าย ที่มีอยู่ในบริษัทด้วย และท้ายที่สุด ยังรวมไปถึง กระบวนการในการนำเข้าข้อมูลและเอกสารเข้าสู่ระบบ E-business ด้วย


ส่วนประกอบของโครงสร้างพื้นฐาน LOGO E-business infrastructure components


       I. Storage/physical : Memory and disk hardware components (equivalent to Level IV in Figure 3.1)
     II. Processing : Computation and logic provided by the processor (processing occurs at Levels I and II in Figure 3.1)
    III. Infrastructure : This refers to the human and external interfaces and also the network, referred to as ‘extrastructure’. (This is Level III in Figure 3.1, although
the human or external interfaces are not shown there.)
   IV. Application/content : This is the data processed by the application into information. (This is Level V in Figure 3.1.)
  V. Intelligence : Additional computerbased logic that transforms information to knowledge (This is also part of the application layer I in Figure 3.1.)

Key management issues of e-business infrastructure


Internet technology

Internet ช่วยให้การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องที่เชื่อมต่อทั่วโลก แต่ในการถ่ายโอนข้อมูลนั้นไร้รอยต่อของวิธีการเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น การร้องขอข้อมูลจะถูกส่งจากคอมพิวเตอร์ไคลเอนต์และอปุกรณ์มือถือที่มีผู้ใช้ร้องขอการบริการให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ที่เก็บข้อมูลโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจและโฮสต์ที่ส่งมอบการบริการในการตอบสนองต่อการร้องขอ ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงเป็นระบบเขนาดใหญ่ในรูปแบบ Client / Server

Hosting of web sites and e-business services

ตัวอย่าง Hosting ใน ไทย

Intranet applications

          ·      อินทราเน็ตถูกใช้อย่างกว้างขวางเพื่อรองรับการขายในด้านธุรกิจ e - commerce โดยเน้นทำงานจากฝ่ายการตลาดเป็นหลัก ซึ่งจะช่วยสนับสนุนกิจกรรมหลักของsupply-chain management โดยการตลาดเครือข่าย อินทราเน็ตมีข้อได้เปรียบต่อดังนี้

       ·      Reduced product lifecycles – as information on product development and marketing campaigns is rationalized we can get products to market faster.

       ·      Reduced costs through higher productivity, and savings on hard copy.



Extranet applications

         ·      เอ็กซ์ทราเน็ตเป็ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที)ช่วยให้การเข้าถึงข้อมูลโดยควบคุมจากภายนอกองค์กร สําหรับธุรกิจที)เฉพาะเจาะจง
         ·      การประยุกต์ใช้เอ็กซ์ทราเน็ตโปรแกรมนั้น ข้อมูลซอฟต์แวร์จะจํากัด การเข้าถึง  ของ บริษัท โดยแสดงข้อมูลภายในให้กบผู้ใช้ภายนอกเช่น ลูกค้าและซัพพลาย เออ สามารถจํากดการเข้าถึงข้อมูล และมักจะมีความสามารถในการสั่งซื้อสินค้า และบริการตรวจสอบสถานะการสั่งซื้อบริการลูกค้าร้องขอได้มากขึ้น

         ·      เช่น www.ifrazone.com เหมาะกบธุรกิจแบบ B2B



Firewalls

Firewalls are necessary when creating an intranet or
extranet to ensure that outside access to confidential
information does not occur. Firewalls are usually created as
software mounted on a separate server at the point where the
company is connected to the Internet. Firewall software can then
be configured to only accept links from trusted domains
representing other offices in the company. A firewall has
implications for e-marketing since staff accessing a web site from
work may not be able to access some content such as graphics
plug-ins. The use of firewalls within the infrastructure of a
company is illustrated in Figure 3.6. It is evident that multiple
firewalls are used to protect information on the company. The
information made available to third parties over the Internet and
extranet is partitioned by another firewall using what is referred
to as the ‘demilitarized zone’ (DMZ). Corporate data on the
intranet are then mounted on other servers inside the company.

Encouraging use of intranets and LOGO extranets


Web technology
        ·      คําวา ่ World Wide Web, หรือเรียกสั้นๆว่า ‘web’ คือ ขั้นตอนมาตรฐานในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข้อมูลสาธารณะบนโลกอินเทอร์เน็ต โดยรูปแบบเอกสารพื้นฐานคือ HTML (Hypertext Markup Language)

        ·      หรือ การบริการหนึ)งในรูปแบบต่างๆของการให้บริการของอินเตอร์เน็ต สําหรับผู้พัฒนาเว็บ หรือผู้ที)ต้องการเขียนโปรแกรมเพื)อติดต่อสื่อสารผานเว็บ หรือ อินเตอร์เน็ต แล้วจะต้องรู้และเข้าใจเรื)องเกี่ยวกับโปรโตคอล (Protocal) - มาตรฐานในการรับส่งข้อมูล


ความร้เบื องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต


         ·     โปรโตคอล เป็นเพียงข้อตกลงกนระหว่าง  2  ฝ่ายที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารกนได้อย่างถูกต้อง และราบรื่นมากที่สุด
         ·     การใช้บริการเว็บจะ ทํางานภายใต้ โปรโตคอล HTTP
         ·     โดยโปรโตคอลจะเป็นตัวกำหนดวิธีการส่งข้อมูลหรือไฟล์ ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น Client และ Server รวมถึงการกำหนด กฎระเบียบในการติดต่อด้วย เราจะใช้โปรแกรมประเภท Browser เป็นตัวช่วยในการติดต่อสื่อสารได้ง่ายขึ้น

         
Web browsers and servers
          ·      เว็บเบราว์เซอร์ (web browser) เบราว์เซอร์หรือโปรแกรมดูเว็บ คือ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที)ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกบข้อมูลสารสนเทศที่
จัดเก็บในหน้าเวบที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล (html) ที่จัดเก็บไว้ที่ระบบบริการเว็บหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่เรียกวาเวิลด์ไวด์เว็บ
         ·      รายชื)อเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ที่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
         ·      Internet Explorer
         ·      Mozilla Firefox
         ·      Google Chrome

         ·      Safari
         · เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งให้บริการที่เก็บเว็บไซต์ (Server) แล้วให้ผู้ใช้ (Client) เรียกชมหน้าเว็บไซต์ได้โดยใช้โพรโทคอล HTTP ผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์
         ·ซอฟต์แวร์ หรือ โปรแกรมที่นํามาทํา เว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ได้รับความนิยมสูงสุด 4 อันดับแรก คือ
      ·      Apache HTTP Serverจาก Apache Software Foundation
      ·      Internet Information Server (IIS) จากไมโครซอฟท์
      ·      Sun Java System Web Serverจากซันไมโครซิสเต็มส์

      ·      Zeus Web Serverจาก Zeus Technology



browser compatibility

         ·  การตรวจสอบเว็บไชต์สามารถรองรับกบการเข้าชมเว็บไซต์ผ่าน Browser ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ซึ่งเมื่อนักพัฒนาโปรแกรมพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาแล้วต้องคํานึงถึง เว็บไชต์นั้นๆ สามารถใช้งานผ่าน browser ต่างๆได้หรือไม่ ซึ่งในปัจจุบันมีโปรแกรมช่วยทดสอบ ในเรื่องของ browser compatibility เช่น



Internet-access software applications


                                   1.         Evolution Web 1.0, Web 2.0 to Web 3.0
                                 2.         Blog
                                 3.         Internet Forum
                                 4.         Wiki
                                 5.         Instant Message
                                 6.         Folksonomy
       





     
 Evolution Web 1.0, Web 2.0 to Web 3.0


         Web 2.0 = Read/Write, Dynamic Data through Web Services
Web 2.0 คือ ผู้เข้าชมสามารถอ่านและเขียนได้ ( Read-Write ) เป็นเทคโนโเว็บไซต์ที่พัฒนาต่อจาก web 1.0 เป็นเทคโนโลยีเว็บไซต์ที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้ เช่น เว็บบอร์ด เว็บบล็อก วิพีเดียเป็นต้น ซึ่งจะใช้ฐานข้อมูลมาเกี่ยวข้อกับเทคโนโลยีนี้ด้วย บุคคลทั่วไปคือผ้สร้างเนื้อหา และนําเสนอข้อมูลต่าง ๆ จาก Web 2.0 ในเปลือกนัททําให้เราเข้าใจว่าในยุคที่ 2 นั่นเป็นเรื่องของการแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกันอย่างแท้จริง โดยการสร้างเสริมข้อมูลสารสนเทศ ให้มีคุณค่าและมีข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด ดังตัวอย่างที่เป็นสิ่งที่ทุกคนคงรู้จักกันดีอย่าง Wikipedia ทําให้ความรู้ถูกต่อยอดไปอยู่ตลอดเวลา ข้อมูลทุกอย่างได้มาจากการเติมแต่งอย่างไม่มีที่สิ้นสด เกิดจากการคานอํานาจของข้อมูลของแต่ละบุคคลทําให้ข้อมูลนั้นถูกต้องมากที่สด และจะถูกมากขึ้นเมื่อเรื่องนั้นถกขัดเกลามาตามระยะเวลาย

บุคคลทำให้ข้อมูลนั้นถูกต้องมากที่สุด และจะถูกมากขึ้น เมื่อเรื่องนั้นถูกขัดเกลามาตามระยะเวลายาวนาน

1. ยกตัวอย่าง website ได้แก่ PANTIP.COM มีวิธีการใช้งานคือ คลิกที่นี่การสมัครสมาชิก
2. การเข้าสู่ระบบเพื่อใช้งานเว็บบอร์ด เช่น การใส่ User Name จากนั้นก็ใส่รหัส
3. การแก้ไขข้อมูลส่วนตัว
4. การโพสต์ หรือ การสร้างกระทู้คำถาม จากนั้นก็จะมีผู้สนใจหรือผู้รู้เกี่ยวกับการโพสต์มาตอบคำถาม


 


 
 


 
 



 
 

Web 3.0 = Read/Write/Relate, Data with structured Metadata + managed identity

Web 3.0 เป็นการนำแนวคิดของ Web 2.0 มาทำให้ Web นั้นสามารถจัดการข้อมูลจำนวนมากๆ ให้อยู่
ในรูปแบบ Metadata ที่หมายถึงข้อมูลที่บอกรายละเอียดของข้อมูล (Data about data) ทำให้เว็บ
กลายเป็น Semantic Web คือ ตัว Web จะทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น
แล้วให้ Tags ตามความเหมาะสมให้เราแทน โดยข้อมูลแต่ละ Tag จะมีความสัมพันธ์กับอีก Tag หนึ่งโดย
ปริยาย ทำให้อินเตอร์เน็ตกลายเป็นฐานข้อมูล ความรู้ขนาดใหญ่ ที่ข้อมูลทุกอย่างถูกเชื่อมต่อกันอย่าง
เป็นระบบมากขึ้น Web 3.0 จะพัฒนาไปในลักษณะ Segment of One คือ Segment ที่มีบุคคลแค่คน
เดียว หรือ ตอบโจทย์ความเป็นส่วนบุคคล เช่น อยากไปเที่ยวภูเขาไฟฟูจิ เมื่อค้นข้อมูลแล้วเว็บไซต์จะ
เชื่อมโยงข้อมูลทั้งหมดออกมา ไม่ว่าจะจากสายการบินต่างๆ แพ็กเกจไหนดีที่สุด และนำมาเช็ค กับ
ตารางของผู้ใช้ว่าตารางเวลาตรงกันไหม หรือจะนำไปเช็คกับตารางของเพื่อนที่ญี่ปุ่นใน Social Network เพื่อนัดเวลาที่ตรงกันเพื่อพบปะทานข้าวร่วมกันก็ได้ ในยุคสื่อดิจิตอล

เว็บ 3.0 ที่ได้รับการพัฒนา จะประกอบด้วย

1. AI (Artificial Intelligence)
2. semantic web
3. Automated reasoning
4. semantic wiki
5. ontology language หรือ OWL

web 3.0
AI (Artificial Intelligence)
หรือปัญญาประดิษฐ์ เป็นการสร้างความฉลาดให้ระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถ
คาดเดาพฤติกรรมและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้งานเว็บช่วยในการค้นหา
ข้อมูลซึ่งมีจำนวนมากเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด

semantic web
คือ การรวมของฐานข้อมูลแบบ อัตโนมัติโดยใช้การคาดเดาและหลักทางคณิตศาสตร์
เข้ามาช่วย ซึ่งผลลัพธ์ของ Application ที่สร้างขึ้นบน Semantic Web จะถูกส่งไปยัง
อินเทอร์เน็ต และส่งต่อไปยัง Web Browser

Automated reasoning
การเขียนโปรแกรมให้ระบบคอมพิวเตอร์รู้จักการแก้ปัญหาเอง มีการประมวลผลได้อย่าง
สมเหตุสมผลพร้อมทั้งแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าเองได้โดยอัตโนมัติ

semantic wiki
เป็นการอธิบายคำๆหนึ่งคล้ายกับดิกชันนารีดังนั้นทำให้เราสามารถหาความหมายหรือ
ข้อมูลต่างๆได้ละเอียดและแม่นยำมากขึ้น

ontology language หรือ OWL
เป็นภาษาที่ใช้ในการอธิบายสิ่งต่างๆให้มีความสัมพันธ์กันโดยดูจากความหมายของสิ่ง
นั้นๆซึ่งก็จะเชื่อมโยงกับระบบ Metadataคือภาษาที่ใช้เป็นตัวอธิบายข้อมูลเชิงสัมพันธ์
(Data about Data) หรือ “ข้อมูลที่ใช้อธิบายความหมายของข้อมูล” หรือ Tags นั้นเอง