E-business infrastructure
Main Topic
·
Internet technology
·
Web technology
·
Internet-access software
applications
·
How does it work? Internet
standards
·
Managing
e-business infrastructure
การกำหนดคำนิยาม(Definition)
·
การกำหนดคำนิยามของคำว่า
technology infrastructure
นั้น ต้องคำนึงถึง โครงสร้างพื้น ฐานของเทคโนโลยีที่มีผลต่อคุณภาพการบริการแก่ผู้ใช้งานของระบบทั้งในแง่ของ
ความเร็ว(Speed) และ การตอบสนองต่อการร้องขอระบบ (responsiveness)
·
การให้บริการ e - business ให้ผ่านมาตรฐานของโครงสร้างพื้น ฐาน
เทคโนโลยีนั้นต้องกำหนดความสามารถขององค์กรในการแข่งขันทางธุรกิจผ่านการความแตกต่างให้กับตัวเองในตลาด
·
McAfee และ Brynjolfsson (2008)ได้กล่าวว่า เทคโนโลยี
ดิจิตอล เพื่อสนับสนุนการแข่งขันทางธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร หรือ CEO ควรจะ
· “Deploy, innovate, and propagate’: First, deploy a
consistent technology platform. Then separate yourself from the
pack by coming up with better ways of working. Finally, use the platform to
propagate these business
innovations widely and reliably. In this regard, deploying IT serves two
distinct roles – as a catalyst for innovative ideas and as an engine for
delivering them.”
ความหมาย E-business infrastructure
หมายถึงการรวมกันของฮาร์ดแวร์เช่น
Server, Client PC ในองค์กรรวมถึงการใช้เครือข่ายในการเชื่อมโยงฮาร์ดแวร์เหล่านี้และการใช้งานซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการส่งมอบบริการให้กับผู้ใช้งานที่อยู่ในบริษัทและยังรวมถึงคู่ค้าและลูกค้าของตน ซึ่งคำว่า Infrastructure ยังรวมไปถึงสถาปัตยกรรมทางด้านHardware , Software และ
เครือข่าย ที่มีอยู่ในบริษัทด้วย และท้ายที่สุด ยังรวมไปถึง กระบวนการในการนำเข้าข้อมูลและเอกสารเข้าสู่ระบบ
E-business ด้วย
ส่วนประกอบของโครงสร้างพื้นฐาน LOGO E-business infrastructure components
I.
Storage/physical : Memory and disk hardware
components (equivalent to Level IV in Figure 3.1)
II. Processing :
Computation and logic provided by the processor (processing occurs at Levels I and II in Figure 3.1)
III. Infrastructure : This
refers to the human and external interfaces and also the network, referred to as ‘extrastructure’. (This is Level III in
Figure 3.1, although
the human or external interfaces are not shown there.)
IV. Application/content :
This is the data processed by the application into information. (This is Level V in Figure 3.1.)
V. Intelligence : Additional computerbased logic that
transforms information to knowledge (This is also part of
the application layer I in Figure 3.1.)
Key management issues of e-business infrastructure
Internet technology
Internet ช่วยให้การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องที่เชื่อมต่อทั่วโลก
แต่ในการถ่ายโอนข้อมูลนั้นไร้รอยต่อของวิธีการเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น การร้องขอข้อมูลจะถูกส่งจากคอมพิวเตอร์ไคลเอนต์และอปุกรณ์มือถือที่มีผู้ใช้ร้องขอการบริการให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ที่เก็บข้อมูลโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจและโฮสต์ที่ส่งมอบการบริการในการตอบสนองต่อการร้องขอ
ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงเป็นระบบเขนาดใหญ่ในรูปแบบ Client / Server
Hosting of web sites and e-business services
ตัวอย่าง Hosting ใน ไทย
Intranet applications
· อินทราเน็ตถูกใช้อย่างกว้างขวางเพื่อรองรับการขายในด้านธุรกิจ e - commerce โดยเน้นทำงานจากฝ่ายการตลาดเป็นหลัก
ซึ่งจะช่วยสนับสนุนกิจกรรมหลักของsupply-chain management โดยการตลาดเครือข่าย
อินทราเน็ตมีข้อได้เปรียบต่อดังนี้
· Reduced product lifecycles – as
information on product development and marketing campaigns is rationalized we
can get products to market faster.
· Reduced costs through higher productivity,
and savings on hard copy.
Extranet applications
· เอ็กซ์ทราเน็ตเป็ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที)ช่วยให้การเข้าถึงข้อมูลโดยควบคุมจากภายนอกองค์กร
สําหรับธุรกิจที)เฉพาะเจาะจง
· การประยุกต์ใช้เอ็กซ์ทราเน็ตโปรแกรมนั้น ข้อมูลซอฟต์แวร์จะจํากัด
การเข้าถึง ของ บริษัท โดยแสดงข้อมูลภายในให้กบผู้ใช้ภายนอกเช่น
ลูกค้าและซัพพลาย เออ สามารถจํากดการเข้าถึงข้อมูล และมักจะมีความสามารถในการสั่งซื้อสินค้า
และบริการตรวจสอบสถานะการสั่งซื้อบริการลูกค้าร้องขอได้มากขึ้น
· เช่น www.ifrazone.com เหมาะกบธุรกิจแบบ
B2B
Firewalls
Firewalls are necessary when creating an intranet or
extranet to ensure that outside access to confidential
information does not occur. Firewalls are usually
created as
software mounted on a separate server at the point where
the
company is connected to the Internet. Firewall software
can then
be configured to only accept links from trusted domains
representing other offices in the company. A firewall
has
implications for e-marketing since staff accessing a web
site from
work may not be able to access some content such as
graphics
plug-ins. The use of firewalls within the infrastructure
of a
company is illustrated in Figure 3.6. It
is evident that multiple
firewalls are used to protect information on the
company. The
information made available to third parties over the
Internet and
extranet is partitioned by another firewall using what
is referred
to as the ‘demilitarized zone’ (DMZ). Corporate data on
the
intranet are then mounted on other servers inside the
company.
Encouraging use of intranets and LOGO extranets
· คําวา
่ World
Wide Web, หรือเรียกสั้นๆว่า ‘web’ คือ ขั้นตอนมาตรฐานในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข้อมูลสาธารณะบนโลกอินเทอร์เน็ต โดยรูปแบบเอกสารพื้นฐานคือ HTML (Hypertext
Markup Language)
· หรือ
การบริการหนึ)งในรูปแบบต่างๆของการให้บริการของอินเตอร์เน็ต สําหรับผู้พัฒนาเว็บ
หรือผู้ที)ต้องการเขียนโปรแกรมเพื)อติดต่อสื่อสารผานเว็บ หรือ อินเตอร์เน็ต แล้วจะต้องรู้และเข้าใจเรื)องเกี่ยวกับโปรโตคอล
(Protocal)
- มาตรฐานในการรับส่งข้อมูล
ความร้เบื องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต
· โปรโตคอล เป็นเพียงข้อตกลงกนระหว่าง 2
ฝ่ายที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารกนได้อย่างถูกต้อง
และราบรื่นมากที่สุด
· การใช้บริการเว็บจะ ทํางานภายใต้ โปรโตคอล HTTP
· โดยโปรโตคอลจะเป็นตัวกำหนดวิธีการส่งข้อมูลหรือไฟล์ ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น
Client และ Server รวมถึงการกำหนด
กฎระเบียบในการติดต่อด้วย เราจะใช้โปรแกรมประเภท Browser เป็นตัวช่วยในการติดต่อสื่อสารได้ง่ายขึ้น
· เว็บเบราว์เซอร์ (web browser) เบราว์เซอร์หรือโปรแกรมดูเว็บ คือ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ที)ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกบข้อมูลสารสนเทศที่
จัดเก็บในหน้าเวบที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ
เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล (html) ที่จัดเก็บไว้ที่ระบบบริการเว็บหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์
หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ขนาดใหญ่ที่เรียกวาเวิลด์ไวด์เว็บ
· รายชื)อเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ที่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
· Internet Explorer
· Mozilla Firefox
· Google Chrome
· Safari
· เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งให้บริการที่เก็บเว็บไซต์ (Server) แล้วให้ผู้ใช้ (Client) เรียกชมหน้าเว็บไซต์ได้โดยใช้โพรโทคอล
HTTP ผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์
·ซอฟต์แวร์ หรือ โปรแกรมที่นํามาทํา เว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ได้รับความนิยมสูงสุด
4 อันดับแรก คือ
· Apache HTTP Serverจาก Apache Software
Foundation
· Internet Information Server (IIS) จากไมโครซอฟท์
· Sun Java System Web Serverจากซันไมโครซิสเต็มส์
· Zeus Web Serverจาก Zeus Technology
browser compatibility
· การตรวจสอบเว็บไชต์สามารถรองรับกบการเข้าชมเว็บไซต์ผ่าน Browser
ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ซึ่งเมื่อนักพัฒนาโปรแกรมพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาแล้วต้องคํานึงถึง
เว็บไชต์นั้นๆ สามารถใช้งานผ่าน browser ต่างๆได้หรือไม่ ซึ่งในปัจจุบันมีโปรแกรมช่วยทดสอบ
ในเรื่องของ browser compatibility เช่น
Internet-access software applications
2.
Blog
3.
Internet Forum
4.
Wiki
5.
Instant Message
6.
Folksonomy
Evolution Web 1.0, Web 2.0 to Web 3.0
Web 2.0 = Read/Write, Dynamic Data
through Web Services
Web
2.0 คือ ผู้เข้าชมสามารถอ่านและเขียนได้ ( Read-Write ) เป็นเทคโนโเว็บไซต์ที่พัฒนาต่อจาก web 1.0 เป็นเทคโนโลยีเว็บไซต์ที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้
เช่น เว็บบอร์ด เว็บบล็อก วิพีเดียเป็นต้น ซึ่งจะใช้ฐานข้อมูลมาเกี่ยวข้อกับเทคโนโลยีนี้ด้วย
บุคคลทั่วไปคือผ้สร้างเนื้อหา และนําเสนอข้อมูลต่าง ๆ จาก Web 2.0 ในเปลือกนัททําให้เราเข้าใจว่าในยุคที่ 2 นั่นเป็นเรื่องของการแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกันอย่างแท้จริง
โดยการสร้างเสริมข้อมูลสารสนเทศ ให้มีคุณค่าและมีข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด
ดังตัวอย่างที่เป็นสิ่งที่ทุกคนคงรู้จักกันดีอย่าง Wikipedia ทําให้ความรู้ถูกต่อยอดไปอยู่ตลอดเวลา ข้อมูลทุกอย่างได้มาจากการเติมแต่งอย่างไม่มีที่สิ้นสด
เกิดจากการคานอํานาจของข้อมูลของแต่ละบุคคลทําให้ข้อมูลนั้นถูกต้องมากที่สด และจะถูกมากขึ้นเมื่อเรื่องนั้นถกขัดเกลามาตามระยะเวลายบุคคลทำให้ข้อมูลนั้นถูกต้องมากที่สุด และจะถูกมากขึ้น เมื่อเรื่องนั้นถูกขัดเกลามาตามระยะเวลายาวนาน
1. ยกตัวอย่าง website ได้แก่ PANTIP.COM มีวิธีการใช้งานคือ คลิกที่นี่การสมัครสมาชิก
2. การเข้าสู่ระบบเพื่อใช้งานเว็บบอร์ด เช่น การใส่ User Name จากนั้นก็ใส่รหัส
3. การแก้ไขข้อมูลส่วนตัว
4. การโพสต์ หรือ การสร้างกระทู้คำถาม จากนั้นก็จะมีผู้สนใจหรือผู้รู้เกี่ยวกับการโพสต์มาตอบคำถาม
Web 3.0 = Read/Write/Relate, Data with structured Metadata + managed identity
Web 3.0 เป็นการนำแนวคิดของ Web 2.0 มาทำให้ Web นั้นสามารถจัดการข้อมูลจำนวนมากๆ ให้อยู่
ในรูปแบบ Metadata ที่หมายถึงข้อมูลที่บอกรายละเอียดของข้อมูล (Data about data) ทำให้เว็บ
กลายเป็น Semantic Web คือ ตัว Web จะทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น
แล้วให้ Tags ตามความเหมาะสมให้เราแทน โดยข้อมูลแต่ละ Tag จะมีความสัมพันธ์กับอีก Tag หนึ่งโดย
ปริยาย ทำให้อินเตอร์เน็ตกลายเป็นฐานข้อมูล ความรู้ขนาดใหญ่ ที่ข้อมูลทุกอย่างถูกเชื่อมต่อกันอย่าง
เป็นระบบมากขึ้น Web 3.0 จะพัฒนาไปในลักษณะ Segment of One คือ Segment ที่มีบุคคลแค่คน
เดียว หรือ ตอบโจทย์ความเป็นส่วนบุคคล เช่น อยากไปเที่ยวภูเขาไฟฟูจิ เมื่อค้นข้อมูลแล้วเว็บไซต์จะ
เชื่อมโยงข้อมูลทั้งหมดออกมา ไม่ว่าจะจากสายการบินต่างๆ แพ็กเกจไหนดีที่สุด และนำมาเช็ค กับ
ตารางของผู้ใช้ว่าตารางเวลาตรงกันไหม หรือจะนำไปเช็คกับตารางของเพื่อนที่ญี่ปุ่นใน Social Network เพื่อนัดเวลาที่ตรงกันเพื่อพบปะทานข้าวร่วมกันก็ได้ ในยุคสื่อดิจิตอล
เว็บ 3.0 ที่ได้รับการพัฒนา จะประกอบด้วย
1. AI (Artificial Intelligence)
2. semantic web
3. Automated reasoning
4. semantic wiki
5. ontology language หรือ OWL
web 3.0
AI (Artificial Intelligence)
หรือปัญญาประดิษฐ์ เป็นการสร้างความฉลาดให้ระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถ
คาดเดาพฤติกรรมและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้งานเว็บช่วยในการค้นหา
ข้อมูลซึ่งมีจำนวนมากเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด
semantic web
คือ การรวมของฐานข้อมูลแบบ อัตโนมัติโดยใช้การคาดเดาและหลักทางคณิตศาสตร์
เข้ามาช่วย ซึ่งผลลัพธ์ของ Application ที่สร้างขึ้นบน Semantic Web จะถูกส่งไปยัง
อินเทอร์เน็ต และส่งต่อไปยัง Web Browser
Automated reasoning
การเขียนโปรแกรมให้ระบบคอมพิวเตอร์รู้จักการแก้ปัญหาเอง มีการประมวลผลได้อย่าง
สมเหตุสมผลพร้อมทั้งแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าเองได้โดยอัตโนมัติ
semantic wiki
เป็นการอธิบายคำๆหนึ่งคล้ายกับดิกชันนารีดังนั้นทำให้เราสามารถหาความหมายหรือ
ข้อมูลต่างๆได้ละเอียดและแม่นยำมากขึ้น
ontology language หรือ OWL
เป็นภาษาที่ใช้ในการอธิบายสิ่งต่างๆให้มีความสัมพันธ์กันโดยดูจากความหมายของสิ่ง
นั้นๆซึ่งก็จะเชื่อมโยงกับระบบ Metadataคือภาษาที่ใช้เป็นตัวอธิบายข้อมูลเชิงสัมพันธ์
(Data about Data) หรือ “ข้อมูลที่ใช้อธิบายความหมายของข้อมูล” หรือ Tags นั้นเอง
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น